วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2560

PKM Model

PKM Model

1. บทบาทของครู
วางแผน 1. แผนการจัดการเรียนรู้ 2. สื่อ นวัตกรรม สิ่งแวดล้อมการเรียนรู 3. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
          1. แผนการจัดการเรียนรู้
               1.1 ความรู้
               1.2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
               1.3 จิตวิทยาศาสตร์
          2. สื่อนวัตกรรม สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
               กิจกรรม/ภาระงาน
               2.1 เพื่อให้รู้จุดประสงค์การเรียนรู้    
               2.2 ทักษะการสังเกต เพื่อบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้
               2.3 ศึกษาใบความรู้ และนำเสนอ
         3. เครื่องมือการวัดผลการเรียนรู้
               3.1 ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
               3.2 ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์

               3.3 การตอบสนองความต้องการในการเรียนของตนเอง

2. บทบาทนักเรียน

3. หลักการแนวคิดรูปแบบการสอน (การจัดการเรียนรู้)

ที่
รูปแบบการสอน
ขั้นตอนการสอน
1
Constructionism

1. Explore
ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง (Construct) ความรู้จากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม โดยใช้กระบวนการทางปัญญา(cognitive apparatus) ของตน
2. Experiment
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงความรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองได้ ผู้เรียนจะเป็นผู้ออกไปสังเกตสิ่งที่ตนอยากรู้ มาร่วมกันอภิปราย สรุปผลการค้นพบ แล้วนำไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเอกสารวิชาการ หรือแหล่งความรู้ที่หาได้ เพื่อตรวจความรู้ที่ได้มา และเพิ่มเติมเป็นองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ต่อไป
3. Learning by doing
การประเมินผลการเรียนรู้ต้องประเมินทั้งผลงานและกระบวนการกระทำ ลงมือปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้วิธีการที่หลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและ เพื่อน การสังเกต การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน
2
Biggs 3P Model
ขั้น p1 = Presage เป็นจัดการเรียนการ สอนโดยทั่ว ไป ในบริบทของผู้เรียนจะกล่าวถึง ความสามารถ ความรู้เดิม ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนก่อนเรียน วิธีการเรียนรู้ที่ชื่นชอบ คุณค่าและความคาดหวัง และแรงจูงใจ สำหรับบริบทของผู้สอน จะกำหนด หลักสูตร โครงสร้างรายวิชา วิธีสอน และวิธีการประเมิน
ขั้น p2 = processเป็นการปฏิบัติภาระงาน ภายใต้บริบทของการสอน แรงจูงใจในการเรียนรู้ และการไขว่คว้า รวมถึงการตัดสินใจในการปฏิบัติ ทั้งหลายทั้งปวงเป็นการเรียนรู้ตามภาระงาน
ขั้น p3 = product ผู้เรียนเรียนรู้ทั้งที่เป็นความคิดในระดับต่ำ และระดับสูง โดยมีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่เน้นการเรียนรู้ที่มีความลุ่มลึก การเรียนรู้โดยอิสระ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคุณลักษณะของการเรียนรู้ตลอดชีวิต








3
Su learning Model
ผู้เรียนกำหนดกรอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ด้วยการระบุ ความรู้และการปฏิบัติ
โดยระบุความรู้ ในรูปของสารสนเทศหรือdeclarative knowledge และระบุทักษะ การปฏิบัติ(โครงงาน งานภาระงาน) กลยุทธทักษะ หรือกระบวนการprocedural knowledgeและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จุดมุ่งหมายและระดับคุณภาพของการเรียนรู้โดย
ที่จุดมุ่งหมายการเรียนรู้จะถูกระบุไว้ว่า ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้อะไร และสามารถที่จะทำอะไรได้
ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ และระบุเกณฑ์คุณภาพวัตถุประสงค์การเรียนรู้เป็นค่าระดับตามโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้ (structure of observed learning out-comes : SOLO Taxonomy)
ผู้เรียนเลือกกลยุทธ์การเรียนรู้ที่จะช่วยให้ประสบความสำเร็จในการ
เรียนรู้ในกรณีที่วัตถุประสงค์เป็นความรู้ความเข้าใจ จะระบุเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน(collaborative learning)
หรือการเรียนรู้แบบนำตนเอง(self-directed learning) โดยคำนึงถึงความมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ถ้า
ผู้เรียนต้องการการเรียนรู้แบบการมีความคิดวิจารณญาณ จำเป็นจะต้องใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน
(cooperative learning)มีการอภิปรายเรื่องราวที่เรียนรู้ กลยุทธการเรียนรู้แบบทำงานเป็นทีมหรือกลยุทธการ
เรียนรู้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ 
4
DRU  Model
1. P= Planning การวางแผน
  D = Design การออกแบบและการพัฒนา
 C = Cognitive network 
ความรู้ความกระจ่างชัด
 A = Affective network
การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม วิชาชีพ
2. C= Cognitive network  ความรู้ความกระจ่างชัด
  L = Learning การเรียนรู้
  M = Management 
การจัดการ,การควบคุม
  S = Strategic network (กลวิธี)
3. A = Assessment
(การประเมินค่า)
    S = Strategic network  (กลวิธี)
    A = Affective network
 (การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม
  วิชาชีพ)
   E = Evaluation  
    (การประเมินผล)
5
PKM  Model
P = purepose subject(เป้าหมายการเรียนรู้)
- ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายได้
- กระบวนการ
ทักษะการสังเกต แสวงหาความรู้
- จิตวิทยาศาสตร์
ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
K = Know ledge (ความรู้/สืบค้น)
- ความรู้
นักเรียนสามารถเรียนรู้เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์
M = Measurement (การวัด/ประเมินผล)
- นักเรียนสามารถตรวจสอบทบทวนตนเองและสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รู้ได้


4. เปรียบเทียบ
รูปแบบการสอนแบบเดิม (9-20 ม.ค 60)
Model  PKM
ขั้นนำ
ทบทวนความรู้เดิม
ยกตัวอย่างประสบการณ์ รอบๆตัว
- Power point
ใช้คำถาม
วิดีโอ
เพลง เต้น ร้องเพลง
กิจกรรม เกม
P = purepose subject(เป้าหมายการเรียนรู้)
- ความรู้
นักเรียนสามารถอธิบายได้
- กระบวนการ
ทักษะการสังเกต แสวงหาความรู้
- จิตวิทยาศาสตร์
ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
ขั้นสอน
ศึกษาใบความรู้ใบความรู้
ทำกิจกรรม การทดลอง
สอนใน power point
สอนในหนังสือ
อธิบาย บรรยาย
นำเสนอ
 - สรุปเนื้อหาลงในสมุด
K = Know ledge (ความรู้/สืบค้น)
ความรู้
นักเรียนสามารถเรียนรู้เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์
ขั้นสรุป
คำถาม
นำเสนอ
ทบทวนความรู้
ยกตัวอย่างประสบการณ์เพื่อเชื่อมโยงกับเนื้อหา
ใบงาน
แผนผังความคิด
M = Measurement (การวัด/ประเมินผล)
นักเรียนสามารถตรวจสอบทบทวนตนเองและสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รู้ได้
 5. เขียนคำถามเพื่อให้พัฒนารูปแบบได้
DRU Model คืออะไร
            D คือ การวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
            R คือ ขั้นการวิจัยเพื่อกำหนดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
            U คือ การตรวจสอบทบทวนโดยใช้แนวคิด UDL เพื่อการประเมินการพัฒนาการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
DRU Model ด้านความรู้ (Knowledge) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
        ปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism)
        ปรัชญานิรันดรนิยม (Perenialism)
DRU Model ด้านผู้เรียน (Learner) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
        ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวะนิยม (Existentialism)
DRU Model ด้านสังคม (Society) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
        ปฏิรูปนิยม (Reconstructionism)
หลักการ DRU Modeส มีว่าอย่างไร
         1. หลักปรัชญาการสอน ใช้หลักปรัชญาการสอนตามแนวคิด ทฤษฎีสรรค์นิยม
         2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ( learner centered learning) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐานะ และการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (cooperative learning)
         3. การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (authentic assessment) และกำหนดคุณภาพตามแนวคิดSOLO Taxonomy ร่วมกับแนวคิดกำรออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสำกล (Universal Design for Learning and Assessment)







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น